SolidWorks Simulation Nonlinear
COURSE OVERVIEW
สอนหลักการการวิเคราะห์ชิ้นงานแบบไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear) โดยมีการวิเคราะห์ทั้ง 3 รูปแบบของปัญหา คือ รูปร่าง (Geometrical), วัสดุ (Material), เงื่อนไขขอบเขต (Boundary) โดยมีทั้งแยกคิดหรือคิดรวมกัน
จุดประสงค์
- ให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทำงานของโปรแกรม SolidWorks Simulation
- ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ชิ้นงานที่มีการเสียรูปที่มีขนาดใหญ่หรือเป็นการหมุนไปจากตำแหน่งเดิมค่อนข้างมากได้
- ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ชิ้นงานที่มี จุดยึด (fixtures), การสัมผัส (contacts) และแรงที่กระทำกับชิ้นส่วน เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาได้
- ให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ชิ้นงานที่เป็นโลหะหลังจากที่มีการเสียรูปอย่างถาวร พลาสติกหรือยางได้
ผลที่ได้รับ และรูปตัวอย่างงาน
- สามารถสรุปผลการวิเคราะห์และวางแผนแก้ไขงานออกแบบได้ก่อนที่จะนำไปผลิตจริง
- สามารถวิเคราะห์ชิ้นงานที่ทำการออกแบบ ว่าจะมีพฤติกรรมตามที่เราต้องการหรือไม่ เมื่อนำไปใช้งานจริง
คุณสมบัติของผู้เรียน
- มีพื้นฐานทางด้านคอมพิวเตอร์ มีพื้นฐานการใช้งาน Windows
- มีพื้นความรู้หรือประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้ SOLIDWORKS เบื้องต้น (ผ่านคอร์ส SOLIDWORKS Essentials)
- มีพื้นความรู้หรือประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้ SOLIDWORKS Simulation เบื้องต้น (ผ่านคอร์ส SOLIDWORKS Simulation)
เนื้อหาบทเรียน
-
วันที่ 1
บทนำ การวิเคราะห์ความเสียหายแบบไม่เชิงเส้น
- ประเภทของการวิเคราะห์แบบไม่เชิงเส้น
- การแก้ปัญหาแบบไม่เชิงเส้น การวิเคราะห์รูปร่างที่ไม่เป็นเชิงเส้นการวิเคราะห์รูปร่างที่ไม่เป็นเชิงเส้น แบบจำลองวัสดุและความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ขั้นตอนเชิงตัวเลขสำหรับ FEA แบบไม่เชิงเส้น การวิเคราะห์เชิงสัมผัส
การวิเคราะห์แบบการเสียรูปขนาดใหญ่
- ทำการวิเคราะห์แบบสถิตย์กับรูปร่างที่เสียรูปไปมากจนไม่เป็นเชิงเส้น
- กำหนดการวิเคราะห์แบบไม่เป็นเชิงเส้น
- คัดลอกวัสดุ, แรงและจุดจับยึดรวมทั้ง mesh จากการวิเคราะห์แบบสถิตย์
- กำหนดกราฟของแรงกับ pseudo-time
- แก้ไขขนาดของแรงเพื่อให้เปลี่ยนไปตามเวลา
- กำหนดค่าของ pseudo-time step
- ใช้การวิเคราะห์แบบไม่เชิงเส้นด้วยขั้นตอนการเพิ่มทีละ step, ดูผลลัพธ์ค่าความเค้นและการเสียรูป
- ใช้ออปชั่น Large displacement ในการวิเคราะห์แบบสถิตย์เชิงเส้นเทคนิคตัวควบคุมเพิ่มเติม
- ใช้หลาย ๆ time curve ในการวิเคราะห์เดียว
- ทำการวิเคราะห์แบบ membrane stucture อย่างมีประสิทธิภาพ
- ใช้และเปรียบเทียบวิธีการระหว่าง Force และ Displacement controlการวิเคราะห์การโก่งเดาะแบบสถิตย์ไม่เชิงเส้น
- ทำการวิเคราะห์การโก่งขนาดใหญ่แบบไม่เป็นเชิงเส้น
- กำหนดตัวควบคุมสำหรับการวิเคราะห์การโก่งแบบไม่เชิงเส้นโดยใช้ Arc Length Control
- เปรียบเทียบผลจากการวิเคราะห์การโก่งแบบเชิงเส้นและแบบไม่เชิงเส้น
- เข้าใจผลของการรบกวนเบื้องต้นกับการโก่งบนโครงสร้างที่มีความสมมาตร -
วันที่ 2
การเสียรูปในช่วง Plastic
- กำหนดกราฟ pseudo-time กรณีมีโหลดและไม่มีโหลด
- ใช้กราฟ bilinear stress-strain ใน elasto-plastic model
- ใช้และเข้าใจความแตกต่างระหว่าง von Mises และ Tresca's plasticity modelsHardening Rules
- กำหนดหลาย ๆ pseudo-time กราฟกรณีมีโหลด
- ใช้ bilinear elasto-plastic model
- เข้าใจผลของ isotropic และ kinematic hardening rules การวิเคราะห์ชิ้นงาน Elastomers
- ทำการวิเคราะห์ชิ้นงานที่ทำจากยาง
- ใช้ข้อมูลเชิงทดลองแทนคุณสมบัติของวัสดุในการวิเคราะห์
- วิเคราะห์ผลกระทบของการเลือก material model และ experimental data
- ตั้งค่าการศึกษาแบบสถิตย์ไม่เชิงเส้นการวิเคราะห์ไม่เป็นเชิงเส้นเชิงแบบ Contact
- กำหนดการสัมผัสกันแบบ No penetration
- เข้าใจความสำคัญของแรงเสียดทานในการวิเคราะห์แบบ contact
- วิเคราะห์แหล่งกำเนิดความไม่เสถียรบางอย่างที่อาจเกิดขึ้นในการวิเคราะห์แบบ contactการขึ้นรูปโลหะ
- ทำการเลือก elastic-plastic กับการวิคราะห์ที่มีการเสียรูปมากจนไม่เป็นเชิงเส้นและการวิเคราะห์แบบสถิตย์ ที่มีความเครียดสูง
- ใช้ 2-D simplification เพื่อลดขนาดของโมเดลของเรา
- เลือกใช้ material model ที่เหมาะสม, กำหนดแรงและจุดจับยึดและกำหนด mesh สำหรับการวิเคราะห์แบบสถิตย์ไม่เชิงเส้น
- กำหนดเงื่อนไขการสัมผัสกันที่ถูกต้องสำหรับเอลิเมนท์แบบ plane strain
- ศึกษาข้อผิดพลาดบางอย่างที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการวิเคราะห์แบบไม่เชิงเส้น , แก้ไขข้อผิดพลาด, ทำให้การวิเคราะห์ให้สำเร็จลุล่วง
- การด าเนินการหลังการวิเคราะห์เสร็จ
- วิเคราะห์และตั้งค าถามถึงความถูกต้องของผลลัพธ์