Basic Drawing
COURSE OVERVIEW
หลักสูตรการเขียนแบบเบื้องต้นจะสอนการสร้างแบบสั่งผลิต (Drawing) ขึ้นพื้นฐานเพื่อเป็นการวางรากฐานในการเขียนแบบและอ่านแบบให้เป็นสากล การเรียนในหลักสูตรนี้ผู้เรียนจะได้เริ่มจากการเขียนแบบงานด้วนมือและพัฒนาระดับการเรียนขึ้นเรื่อยๆ จนถึงการเขียนแบบงานด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นที่ผู้เรียนจะสามารถนำไปใช้ต่อยอดในการทำงานจริงอย่างมืออาชีพต่อไป
หลักสูตรสำหรับ : วิศวกร ช่างผู้ชำนาญการ นักศึกษา และผู้ที่สนใจที่มีพื้นฐานการเขียนแบบ-อ่านแบบ
เนื้อหาบทเรียน
-
วันที่ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน
หัวข้อ : การเขียนแบบมีความสำคัญอย่างไร
บทที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ (Drawing Tools)
- ลักษณะและวิธีใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีใช้ในงานเขียนแบบ
บทที่ 2: การเขียนภาพฉายแบบออโธกราฟฟิค (Orthographic Projection Drawing)
- การฉายภาพ
- ภาพฉายมุมที่ 1 (First angle projection )
- ภาพฉายมุมที่ 3 (Third angle projection )
- ความสัมพันธ์เรื่องสัดส่วนและรูปทรงของภาพฉายบทที่ 2: การเขียนภาพฉายแบบออโธกราฟฟิค (Orthographic Projection Drawing)
บทที่ 3: ลักษณะเส้นและการใช้งานเส้นแบบต่างๆในงานเขียนแบบ
- ลักษณะของเส้นต่างๆ ในงานเขียนแบบ
- ชนิดของเส้นและลักษณะการใช้งาน
- ตัวอักษรและตัวเลข -
วันที่ 2
บทที่ 4: การเขียนภาพสามมิติ (Pictorial Drawing)
- ภาพแอกซ์โซโนเมตริก (Axonometric)
- ภาพออบบลิค (Oblique)
- ภาพทัศนียภาพ (Perspective)
- การเขียนแบบภาพไอโซเมตริก (Isometric Drawing)บทที่ 5: การกำหนดขนาดในแบบงาน
- หลักในการกำหนดขนาดในแบบงาน
- องค์ประกอบในการกำหนดขนาดแบบงาน
- กฎเกณฑ์และมาตรฐานในการกำหนดขนาด
- ข้อควรระวังในการกำหนดขนาดบทที่ 6: มาตราส่วนในงานเขียนแบบ (Scale)
- มาตราส่วนมาตรฐานในงานเขียนแบบ
- ความหมายของตัวเลขบอกมาตราส่วนบทที่ 7: การกำหนดสัญลักษณ์ความละเอียดผิวในงานเขียนแบบ
- เครื่องมือวัดความหยาบ(ละเอียด)ผิวของชิ้นงาน
- สัญลักษณ์ความละเอียดผิว
- สัญลักษณ์และความหมายทิศทางรอยผิว
- ตัวอย่างการกำหนดความละเอียดผิวลงในแบบงานงานภาคปฏิบัติ
- การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ CAD